เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2553 ได้มีการประชุมเครือข่ายผู้บริโภคจังหวัดลำปาง เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงาน และหาแนวทางขับเคลื่อนงานคุ้มครองผู้บริโภคปี พ.ศ. 2554 ซึ่งได้แนวทางการทำงานคุ้มครองผู้บริโภคโดยใช้กลไกระดับอำเภอ 13 อำเภอ และ ระดับตำบล รวมทั้งมีเวทีพัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านกฎหมาย และพัฒนาด้านบุคคลิกภาพในแผนการทำงานด้วย
วันจันทร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2553
อบรมหลักสูตรจิตตปัญญาศึกษา และการคิดเชิงระบบ
เมื่อวันที่ 1-4 ธันวาคม 2553 เจ้าหน้าที่ศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคจังหวัดลำปาง ได้เข้าร่วมอบรมหลักสูตรจิตตปัญญาศึกษา และความคิดเชิงระบบ ณ ชลพฤกษ์รีสอร์ท จังหวัดนครนายก โดยได้เรียนรู้เรื่องสุนทรียสนทนา หรือ ไดอะล็อก ผู้นำสี่ทิศ ทฤษฎีไข่ไดโนเสาร์ ทฤษฎีไข่แดงไข่ขาว ทฤษฎีคลื่นสมอง สภาวะของชีวิต การตระหนักรู้ (Aware Ego) และการคิดเชิงระบบ จากการเข้าร่วมอบรมดังกล่าวสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการทำงานให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากขึ้น
วันพฤหัสบดีที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
เมื่อวันที่ 19 - 22 กรกฎาคม 2553 ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สมาคมชีวิตดีได้เดินทางไปศึกษาดูงานคุ้มครองผู้บริโภคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานกับเครือข่ายผู้บริโภคจังหวัดขอนแก่น และเยี่ยมชมการทำเกษตรอินทรีย์ จังหวัดศรีสะเกษ จากการศึกษาดูงานในครั้งนี้ทำให้เจ้าหน้าที่ได้รับความรู้และประสบการณ์การทำงานที่เป็นประโยชน์ สามารถนำมาปฏิบัติและถ่ายทอดให้กับภาคีเครือข่ายการทำงานในจังหวัดลำปางต่อไป
วันพุธที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553
เวทีชี้แจงและกำหนดทิศทางคณะทำงานเครือข่ายผู้บริโภคจังหวัดลำปาง
เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2553 ศูนย์ประสานงานเครือข่ายผู้บริโภคจังหวัดลำปาง ได้จัดเวทีชี้แจงและกำหนดทิศทางคณะทำงานเครือข่ายผู้บริโภคจังหวัดลำปาง ณ โรงแรมรีเจนท์ ลอร์ด จังหวัดลำปาง โดยมีตัวแทนคณะทำงานอำเภอทั้ง 13 อำเภอเข้าร่วมกิจกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เครือข่ายผู้บริโภค 13 อำเภอ มีความรู้ ความเข้าใจ ความตื่นตัวและความตระหนักต่อสิทธิหน้าที่ของผู้บริโภค มีความสามารถในการปกป้องแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง และเป็นผู้สนับสนุนพร้อมขับเคลื่อนให้เกิดกระบวนการในการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่ด้วยวิธีการระดมทรัพยากรกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เช่น อปท. โรงเรียน ได้
ศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม จังหวัดลำปาง
วิสัยทัศน์การส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม ภาคเหนือ 3 ปี (2553 - 2554)
ความเข้มแข็งของขบวนการภาคประชาชน ที่เชื่อมร้อยพลังและนำไปสู่สิทธิพลเมืองในการคุ้มครองผู้บริโภค : ผู้บริโภคสีเขียว (Green Consumer)
ความเข้มแข็งของขบวนการภาคประชาชน ที่เชื่อมร้อยพลังและนำไปสู่สิทธิพลเมืองในการคุ้มครองผู้บริโภค : ผู้บริโภคสีเขียว (Green Consumer)
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. สนับสนุนเครือข่ายผู้บริโภค 13 อำเภอ ทำหน้าที่เป็นกลไกการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมที่มีประสิทธิผลโดยใช้ระบบเครือข่ายในระดับพื้นที่อำเภอและระดับจังหวัดให้มีความเข้มแข้งนำไปสู่การเป็นองค์การอิสระผู้บริโภค
2. สาธารณชนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคมตลอดจนสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
3. รับเรื่องร้องเรียนและติดตามการตรวจสอบการบริการในกิจการโทรคมนาคม ตลอดจนไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกิดขึ้นกับผู้บริโภค
4. เพื่อติดตามเสนอแนะนโยบาย กฎหมายและมาตรการการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม
5. องค์กรมีศักยภาพและมีความพร้อมในการขับเคลื่อนการทำงานด้านการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค
1. สนับสนุนเครือข่ายผู้บริโภค 13 อำเภอ ทำหน้าที่เป็นกลไกการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมที่มีประสิทธิผลโดยใช้ระบบเครือข่ายในระดับพื้นที่อำเภอและระดับจังหวัดให้มีความเข้มแข้งนำไปสู่การเป็นองค์การอิสระผู้บริโภค
2. สาธารณชนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคมตลอดจนสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
3. รับเรื่องร้องเรียนและติดตามการตรวจสอบการบริการในกิจการโทรคมนาคม ตลอดจนไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกิดขึ้นกับผู้บริโภค
4. เพื่อติดตามเสนอแนะนโยบาย กฎหมายและมาตรการการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม
5. องค์กรมีศักยภาพและมีความพร้อมในการขับเคลื่อนการทำงานด้านการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค
รายชื่อภาคีหุ้นส่วน
1. เครือข่ายผู้บริโภค 13 ศูนย์อำเภอ
1. เครือข่ายผู้บริโภค 13 ศูนย์อำเภอ
ภาคียุทธศาสตร์
1. ทีมนักวิชาการ
2. อปท.
3. หน่วยงานภาครัฐ
4. ทีมสื่อลำปาง
1. ทีมนักวิชาการ
2. อปท.
3. หน่วยงานภาครัฐ
4. ทีมสื่อลำปาง
ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ (3 ปี)
เครือข่ายผู้บริโภค 13 อำเภอ มีความรู้ ความเข้าใจ ความตื่นตัว และความตระหนักต่อสิทธิหน้าที่ของผู้บริโภค มีความสามารถในการปกป้องสิทธิแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง และเป็นผู้สนับสนุนพร้อมขับเคลื่อนให้เกิดกระบวนการในการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่ ด้วยวิธีการระดมทรัพยากรกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เช่น อปท. โรงเรียน
เครือข่ายผู้บริโภค 13 อำเภอ มีความรู้ ความเข้าใจ ความตื่นตัว และความตระหนักต่อสิทธิหน้าที่ของผู้บริโภค มีความสามารถในการปกป้องสิทธิแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง และเป็นผู้สนับสนุนพร้อมขับเคลื่อนให้เกิดกระบวนการในการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่ ด้วยวิธีการระดมทรัพยากรกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เช่น อปท. โรงเรียน
ตัวบ่งชี้ความก้าวหน้า (3ปี)
เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า
ระยะเวลา (ปี)
ระดับง่าย
ปีที่ 1
1. มีการประชุมวางแผน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจ แบบมีส่วนร่วม
2. มีระบบฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
3. มีระบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม
4. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสารประชาสัมพันธ์
5. มีความรู้ ความเข้าใจ ความตื่นตัว ในเรื่องสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
6. มีการทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่
7. มีการทำงานเป็นทีม
ระดับปานกลาง
ปีที่ 2
1. มีความตระหนักต่อสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
2. มีศักยภาพความสามารถในการคุ้มครองสิทธิ การแก้ไขปัญหาในการรับเรื่องร้องเรียน
3. มีชุดความรู้จากการทำงานด้านผู้บริโภค
ระดับยาก
ปีที่ 3
1. มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
2. มีการต่อยอดงานเดิม และงานใหม่ กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อปท. โรงเรียน
3. ระดมทรัพยากรกับหน่วยงานภาคีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า
ระยะเวลา (ปี)
ระดับง่าย
ปีที่ 1
1. มีการประชุมวางแผน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจ แบบมีส่วนร่วม
2. มีระบบฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
3. มีระบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม
4. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสารประชาสัมพันธ์
5. มีความรู้ ความเข้าใจ ความตื่นตัว ในเรื่องสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
6. มีการทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่
7. มีการทำงานเป็นทีม
ระดับปานกลาง
ปีที่ 2
1. มีความตระหนักต่อสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
2. มีศักยภาพความสามารถในการคุ้มครองสิทธิ การแก้ไขปัญหาในการรับเรื่องร้องเรียน
3. มีชุดความรู้จากการทำงานด้านผู้บริโภค
ระดับยาก
ปีที่ 3
1. มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
2. มีการต่อยอดงานเดิม และงานใหม่ กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อปท. โรงเรียน
3. ระดมทรัพยากรกับหน่วยงานภาคีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)