เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2553 ศูนย์ประสานงานเครือข่ายผู้บริโภคจังหวัดลำปาง ได้จัดเวทีชี้แจงและกำหนดทิศทางคณะทำงานเครือข่ายผู้บริโภคจังหวัดลำปาง ณ โรงแรมรีเจนท์ ลอร์ด จังหวัดลำปาง โดยมีตัวแทนคณะทำงานอำเภอทั้ง 13 อำเภอเข้าร่วมกิจกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เครือข่ายผู้บริโภค 13 อำเภอ มีความรู้ ความเข้าใจ ความตื่นตัวและความตระหนักต่อสิทธิหน้าที่ของผู้บริโภค มีความสามารถในการปกป้องแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง และเป็นผู้สนับสนุนพร้อมขับเคลื่อนให้เกิดกระบวนการในการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่ด้วยวิธีการระดมทรัพยากรกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เช่น อปท. โรงเรียน ได้
วันพุธที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553
ศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม จังหวัดลำปาง
วิสัยทัศน์การส่งเสริมการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม ภาคเหนือ 3 ปี (2553 - 2554)
ความเข้มแข็งของขบวนการภาคประชาชน ที่เชื่อมร้อยพลังและนำไปสู่สิทธิพลเมืองในการคุ้มครองผู้บริโภค : ผู้บริโภคสีเขียว (Green Consumer)
ความเข้มแข็งของขบวนการภาคประชาชน ที่เชื่อมร้อยพลังและนำไปสู่สิทธิพลเมืองในการคุ้มครองผู้บริโภค : ผู้บริโภคสีเขียว (Green Consumer)
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. สนับสนุนเครือข่ายผู้บริโภค 13 อำเภอ ทำหน้าที่เป็นกลไกการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมที่มีประสิทธิผลโดยใช้ระบบเครือข่ายในระดับพื้นที่อำเภอและระดับจังหวัดให้มีความเข้มแข้งนำไปสู่การเป็นองค์การอิสระผู้บริโภค
2. สาธารณชนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคมตลอดจนสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
3. รับเรื่องร้องเรียนและติดตามการตรวจสอบการบริการในกิจการโทรคมนาคม ตลอดจนไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกิดขึ้นกับผู้บริโภค
4. เพื่อติดตามเสนอแนะนโยบาย กฎหมายและมาตรการการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม
5. องค์กรมีศักยภาพและมีความพร้อมในการขับเคลื่อนการทำงานด้านการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค
1. สนับสนุนเครือข่ายผู้บริโภค 13 อำเภอ ทำหน้าที่เป็นกลไกการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมที่มีประสิทธิผลโดยใช้ระบบเครือข่ายในระดับพื้นที่อำเภอและระดับจังหวัดให้มีความเข้มแข้งนำไปสู่การเป็นองค์การอิสระผู้บริโภค
2. สาธารณชนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคมตลอดจนสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
3. รับเรื่องร้องเรียนและติดตามการตรวจสอบการบริการในกิจการโทรคมนาคม ตลอดจนไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกิดขึ้นกับผู้บริโภค
4. เพื่อติดตามเสนอแนะนโยบาย กฎหมายและมาตรการการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม
5. องค์กรมีศักยภาพและมีความพร้อมในการขับเคลื่อนการทำงานด้านการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค
รายชื่อภาคีหุ้นส่วน
1. เครือข่ายผู้บริโภค 13 ศูนย์อำเภอ
1. เครือข่ายผู้บริโภค 13 ศูนย์อำเภอ
ภาคียุทธศาสตร์
1. ทีมนักวิชาการ
2. อปท.
3. หน่วยงานภาครัฐ
4. ทีมสื่อลำปาง
1. ทีมนักวิชาการ
2. อปท.
3. หน่วยงานภาครัฐ
4. ทีมสื่อลำปาง
ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ (3 ปี)
เครือข่ายผู้บริโภค 13 อำเภอ มีความรู้ ความเข้าใจ ความตื่นตัว และความตระหนักต่อสิทธิหน้าที่ของผู้บริโภค มีความสามารถในการปกป้องสิทธิแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง และเป็นผู้สนับสนุนพร้อมขับเคลื่อนให้เกิดกระบวนการในการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่ ด้วยวิธีการระดมทรัพยากรกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เช่น อปท. โรงเรียน
เครือข่ายผู้บริโภค 13 อำเภอ มีความรู้ ความเข้าใจ ความตื่นตัว และความตระหนักต่อสิทธิหน้าที่ของผู้บริโภค มีความสามารถในการปกป้องสิทธิแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง และเป็นผู้สนับสนุนพร้อมขับเคลื่อนให้เกิดกระบวนการในการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในพื้นที่ ด้วยวิธีการระดมทรัพยากรกับหน่วยงานภาคีต่างๆ เช่น อปท. โรงเรียน
ตัวบ่งชี้ความก้าวหน้า (3ปี)
เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า
ระยะเวลา (ปี)
ระดับง่าย
ปีที่ 1
1. มีการประชุมวางแผน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจ แบบมีส่วนร่วม
2. มีระบบฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
3. มีระบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม
4. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสารประชาสัมพันธ์
5. มีความรู้ ความเข้าใจ ความตื่นตัว ในเรื่องสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
6. มีการทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่
7. มีการทำงานเป็นทีม
ระดับปานกลาง
ปีที่ 2
1. มีความตระหนักต่อสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
2. มีศักยภาพความสามารถในการคุ้มครองสิทธิ การแก้ไขปัญหาในการรับเรื่องร้องเรียน
3. มีชุดความรู้จากการทำงานด้านผู้บริโภค
ระดับยาก
ปีที่ 3
1. มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
2. มีการต่อยอดงานเดิม และงานใหม่ กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อปท. โรงเรียน
3. ระดมทรัพยากรกับหน่วยงานภาคีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า
ระยะเวลา (ปี)
ระดับง่าย
ปีที่ 1
1. มีการประชุมวางแผน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจ แบบมีส่วนร่วม
2. มีระบบฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
3. มีระบบการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม
4. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสารประชาสัมพันธ์
5. มีความรู้ ความเข้าใจ ความตื่นตัว ในเรื่องสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
6. มีการทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่
7. มีการทำงานเป็นทีม
ระดับปานกลาง
ปีที่ 2
1. มีความตระหนักต่อสิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
2. มีศักยภาพความสามารถในการคุ้มครองสิทธิ การแก้ไขปัญหาในการรับเรื่องร้องเรียน
3. มีชุดความรู้จากการทำงานด้านผู้บริโภค
ระดับยาก
ปีที่ 3
1. มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
2. มีการต่อยอดงานเดิม และงานใหม่ กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อปท. โรงเรียน
3. ระดมทรัพยากรกับหน่วยงานภาคีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)